Authors
วิไล แสน ยา เจริญ กุล, กี ร ดา ไกร นุ วัตร, ปิยะ ธิดา นา คะ เกษียร
Description
วัตถุประสงค์: เพื่อ ศึกษา ผล ของ โปรแกรม ปรับ เปลี่ยน การ บริโภค อาหาร ต่อ พฤติกรรม การ บริโภค อาหาร ของ กลุ่ม เสี่ยง สูง ต่อ โรค เบาหวาน รูป แบบ การ วิจัย: การ วิจัย ทดลอง วิธี ดำเนิน การ วิจัย: ศึกษา กลุ่ม เสี่ยง สูง ต่อ โรค เบาหวาน 60 ราย เลือก กลุ่ม ตัวอย่าง โดย วิธี การ สุ่ม ออก เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม ทดลอง และ กลุ่ม ควบคุม กลุ่ม ละ 30 ราย กลุ่ม ทดลอง ได้ รับ การ ดูแล ตาม ปกติ ร่วม กับ โปรแกรม ปรับ เปลี่ยน การ บริโภค อาหาร กลุ่ม ควบคุม ได้ รับ การ ดูแล ตาม ปกติ เท่านั้น เครื่องมือ ที่ ใช้ คือ โปรแกรม ปรับ เปลี่ยน การ บริโภค อาหาร ระยะ เวลา 8 สัปดาห์ มี กิจกรรม กลุ่ม 4 ครั้ง และ ติดตาม ทาง โทรศัพท์ 1 ครั้ง เก็บ ข้อมูล โดย ใช้ แบบสอบถาม ก่อน ทดลอง หลัง ทดลอง (สัปดาห์ ที่ 4) และ ระยะ ติดตาม ผล (สัปดาห์ ที่ 8) วิเคราะห์ ข้อมูล โดย ใช้ สถิติ พรรณนา และ สถิติ การ วิเคราะห์ ความ แปรปรวน แบบ วัด ซ้ำ ผล การ วิจัย: พฤติกรรม การ บริโภค อาหาร แบบแผน ความ เชื่อ ด้าน สุขภาพ และ การ รับ รู้ สมรรถนะ แห่ง ตน ของ กลุ่ม ทดลอง และ กลุ่ม ควบคุม แตก ต่าง กัน อย่าง มี นัย สำคัญ ทาง สถิติ (F (1, 58)= 38.096, p<. 001, F (1, 58)= 26.374, p<. 001 และ F (1, 58)= 26.555, p<. 001) สรุป และ ข้อ เสนอ แนะ: โปรแกรม ปรับ เปลี่ยน การ บริโภค อาหาร นี้ สามารถ ปรับ เปลี่ยน พฤติกรรม การ บริโภค อาหาร ใน กลุ่ม เสี่ยง สูง ต่อ โรค เบาหวาน ได้ และ ยัง ทำให้ มี ความ มั่นใจ ใน การ เลือก บริโภค อาหาร ที่ เหมาะสม กับ ภาวะ เสี่ยง สูง ต่อ เบาหวาน ของ ตนเอง รวม ทั้ง มี แบบแผน ความ เชื่อ ด้าน สุขภาพ ดี กว่า กลุ่ม ควบคุม ดังนั้น พยาบาล เวช ปฏิบัติ ชุมชน สามารถ นำ โปรแกรม ไป ประยุกต์ ใช้ ใน การ สร้าง เสริม การ ปรับ เปลี่ยน พฤติกรรม บริโภค ของ กลุ่ม เสี่ยง สูง ต่อ โรค เบาหวาน เพื่อ ป้องกัน หรือ ชะลอ การ เกิด โรค เบาหวาน ใน อนาคต
Purpose: This study aimed to assess the effects of a dietary modification program on a food consumption behavior. Design: An experimental design. Methods: 60 people with prediabetes were …