Authors
พิกุล ทิพย์ ขุน เศรษฐ, กี ร ดา ไกร นุ วัตร, ปิยะ ธิดา นา คะ เกษียร
Description
วัตถุประสงค์: เพื่อ ศึกษา ผล ของ โปรแกรม การ ให้ ความ รู้ และ สร้าง เสริม สมรรถนะ แห่ง ตน ต่อ พฤติกรรม การ ดูแล ตนเอง ใน ผู้ ป่วย โรค ความ ดัน โลหิต สูง ชนิด ไม่ ทราบ สาเหตุ ที่ ควบคุม ไม่ ได้ รูป แบบ การ วิจัย: วิจัย กึ่ง ทดลอง วิธี ดำเนิน การ วิจัย: กลุ่ม ตัวอย่าง เป็น ผู้ ป่วย โรค ความ ดัน โลหิต สูง ชนิด ไม่ ทราบ สาเหตุ ที่ ควบคุม ไม่ ได้ อายุ 35 ปี ขึ้น ไป แบ่ง เป็น กลุ่ม ทดลอง และ กลุ่ม เปรียบเทียบ กลุ่ม ละ 30 ราย กลุ่ม ทดลอง ได้ รับ โปรแกรม การ ให้ ความ รู้ และ สร้าง เสริม สมรรถนะ แห่ง ตน 8 สัปดาห์ กลุ่ม เปรียบเทียบ ได้ รับ การ พยาบาล ตาม ปกติ ประเมิน ความ แตก ต่าง ของ ความ รู้ การ รับ รู้ สมรรถนะ แห่ง ตน และ พฤติกรรม การ ดูแล ตนเอง ก่อน ได้ รับ โปรแกรม และ หลัง ได้ รับ โปรแกรม 2 ครั้ง วิเคราะห์ ข้อมูล ด้วย สถิติ repeated measure ANOVA ผล การ วิจัย: คะแนน ความ รู้ และ คะแนน การ รับ รู้ สมรรถนะ แห่ง ตน ก่อน และ หลัง ได้ รับ โปรแกรม มี ความ แตก ต่าง อย่าง มี นัย สำคัญ ทาง สถิติ (F= 9.980, และ F= 5.448 df= 1, p<. 05) เมื่อ เปรียบเทียบ ราย คู่ พบ ว่าความ รู้ ก่อน และ หลัง ได้ รับ โปรแกรม ครั้ง ที่ 1 และ ครั้ง ที่ 2 มี ความ แตก ต่าง กัน อย่าง มี นัย สำคัญ ทาง สถิติ (p<. 05) และ การ รับ รู้ สมรรถนะ แห่ง ตน ก่อน และ หลัง ได้ รับ โปรแกรม ครั้ง ที่ 2 และ หลัง ได้ รับ โปรแกรม ครั้ง ที่ 1 และ ครั้ง ที่ 2 มี ความ แตก ต่าง กัน อย่าง มี นัย สำคัญ ทาง สถิติ (p<. 05) ใน ส่วน คะแนน พฤติกรรม การ ดูแล ตนเอง ก่อน และ หลัง ได้ รับ โปรแกรม พบ ว่า มี ความ แตก ต่าง อย่าง มี นัย สำคัญ ทาง สถิติ (F= 13.044, df= 1.695, p<. 05) เมื่อ เปรียบเทียบ ราย คู่ พบ ว่า พฤติกรรม การ ดูแล ตนเอง ก่อน และ หลัง ได้ รับ โปรแกรม ครั้ง ที่ 1 และ ก่อน และ หลัง ได้ รับ โปรแกรม ครั้ง ที่ 2 มี ความ แตก ต่าง กัน อย่าง มี นัย สำคัญ ทาง สถิติ (p<. 05) สรุป และ ข้อ เสนอ แนะ: การ ให้ ความ รู้ และ สร้าง เสริม สมรรถนะ แห่ง ตน ให้ กับ ผู้ ป่วย โรค ความ ดัน โลหิต สูง มี ผล ต่อ การ ปรับ เปลี่ยน พฤติกรรม การ ดูแล ตนเอง ผล การ ศึกษา นี้ สามารถ นำ ไป ประยุกต์ และ พัฒนาการ ดูแล …